หลายคนมักพูดว่า “เราไม่สามารถพัฒนาได้ หากเราไม่รู้ว่าจะวัดผลด้วยอะไร” ดังนั้น Key Performance Indicatoes (KPIs – ตัวชี้วัด) หรือ Critical Success Factors (ปัจจัยแห่งความสำเร็จ) จึงเป็นสิ่งที่สามารถนำมาช่วยวัดความก้าวหน้าเพื่อผลักดันให้ไปถึงเป้าหมาย ถ้าไม่มีตัววัดประเมิน คุณจะไม่รู้เลยว่าในขณะที่คุณกำลังอยู่กับปัจจุบัน (AS IS) สิ่งต่างๆ ที่คุณทำไปถึงจุดใดแล้ว ยังอยู่ในแผนหรือไม่ ยังมุ่งถึงสิ่งที่คุณอยากจะเป็นในอนาคต (TO BE) หรือเปล่า?
.
.
การวัดผลแบบ Agile’s KPI มีหลายตัวชี้วัด แต่สิ่งที่หลายองค์กรพลาดไปคือ ลืมไปว่าสิ่งที่เราจะวัดต้องอยู่บนบรรทัดฐานที่ไม่ใช่แค่ “Do Agile” แต่ต้องวัดที่ “Being Agile” ด้วย
.
.
ตัวอย่าง ตัวชี้วัดแบบ “Do Agile” เพื่อวัดผลการปฏิบัติงานที่องค์กรมักใช้วัดกัน ได้แก่:
1. มิติของเวลาในการทำงาน (Cycle Time)
a. Sprint burndown
b. Velocity
c. Lead time
d. Delivered at every sprint
e. Backlog growth
.
2. มิติของคุณภาพ (Escaped Defect Rate)
a. Testing occurring during the sprint
b. Defect Resolution rates
c. Test Gap analytics
.
3. มิติการวางแผนเพื่อให้ถึงเป้าหมาย (Planned-to-Done Ration)
a. Daily stand-up attendance
b. Retrospective held
.
4. มิติของความสุขของทีมงาน (Happiness Metric)
a. Team Capacity
b. Product owner’s time with the team
c. Teams’ time in a co-located area
d. Net Promoter Score
.
.
.
? ในการเปลี่ยนแปลงสู่การเป็น Agile ท่านควรส่งเสริมและปลูกฝังพฤติกรรม “Being Agile” เพื่อให้เกิดวัฒนธรรม Agile อย่างยั่งยืนในอนาคต [TO BE] ดังนั้น การวัดผลจึงเป็นการประเมินในส่วนของพฤติกรรมที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรของคุณที่สนับสนุนให้คนมีความคิดและพฤติกรรมเช่นนั้น
? ตัวอย่าง ตัวชี้วัด “Being Agile” ในด้านพฤติกรรมและวิธีการประเมิน ดังนี้
.
.
.
.
.
A Cup of Culture
———–
#วัฒนธรรมองค์กร
#corporateculture
#culture
.
.
.
ที่มาจาก: