คำว่า Autonomy เป็นคำที่ถูกพูดถึงเป็นอย่างมากในวงการธุรกิจ เพราะเป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีทั้งข้อดีและข้อเสีย รวมถึงข้อท้าทายในตัวเอง ทำให้เป็นเรื่องที่หลายองค์กรเลือกหยิบมาพูดคุยกันว่า… “ระดับของความมีอิสระแบบไหนที่พอดีกับบริบทของตัวเอง..?” “แต่ละระดับมีอะไรบ้าง..?”
Category: Strategy
คุณเป็นคนหนึ่งหรือไม่ที่รู้สึกว่าช่วงหลัง ๆ มานี้ชีวิตเต็มไปด้วยความยุ่ง ความเครียด และไม่สามารถพักจากการทำงานได้เลย? หากคำตอบ คือ ใช่
Toxic Person คือ บุคคลที่มีลักษณะพฤติกรรมต่อต้านผู้อื่น ชอบบงการ ตัดสินตีตรา หรือควบคุมเอาแต่ใจ บุคคลดังกล่าวนี้มักเป็นสาเหตุของความรู้สึกและอารมณ์ด้านลบเมื่อเราไปอยู่ใกล้
Hubert Joly อดีต CEO ของ Best Buy เคยเล่าว่าตอนที่เขาเริ่มทำงานแรก
ความกระตือรือร้นต่อความเร่งด่วนเป็นสิ่งสำคัญต่อความสำเร็จองค์กร เพราะความเร็วนั้นเป็นข้อได้เปรียบสำคัญของธุรกิจเสมอ ทีมที่ตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ลองเร็ว เรียนรู้เร็ว และปรับตัวเร็วคือทีมที่มักประสบความสำเร็จได้มากกว่า อย่างไรก็ตามเราต้องไม่ลืมว่ามันมีความแตกต่างระหว่างความกระตือรือร้น กับวัฒนธรรมองค์กรที่ทุกอย่างเร่งด่วนไปหมด
คำว่า Soft Power หรือ “อำนาจอ่อน” (wikipedia:) เป็นกระแสที่ถูกพูดถึงเป็นอย่างมากในช่วงนี้ โดยความหมายของคำนี้คือ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในปัจจุบันทำให้หลายองค์กรต้องเดินทางมาถึงจุดที่ต้อง “เปลี่ยนวิธีการทำธุรกิจ” อาจจะด้วยเหตุผลเพื่อความอยู่รอดหรือเพื่อความเติบโตก้าวหน้า บุคคลซึ่งเป็นหัวหอกสำคัญที่ต้องนำการเปลี่ยนแปลงคงหนีไม่พ้น “ผู้จัดการและหัวหน้างาน” และปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ไม่ใช่พนักงานทุกคนจะตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงด้วยทัศนคติที่ว่า “ฉันชอบการเปลี่ยนแปลง
รัฐบาล บริษัท มูลนิธิ สื่อมวลชล เราไว้ใจองค์กรแบบไหนมากที่สุด ? อาจจะเป็นตัวเลือกที่ยากหน่อยสำหรับในบ้านเรา แต่สำหรับงานวิจัยจากฝั่งอเมริกาพบว่าพวกเขาไว้ใจองค์กรประเภทบริษัทมากที่สุดเป็นปีที่
หลายครั้งเมื่อทีมทำงานได้ไม่ดี ไม่ได้ดั่งใจ… องค์กรมักมองว่าพนักงานยังขาดความกระตือรือร้นเอาใจใส่ ขาดความรับผิดชอบ และขาดความเป็นเจ้าของในงาน แต่ในความเป็นจริงแล้วพนักงานไม่ได้อยากจะขี้เกียจ หรืออยากที่จะไร้ความรับผิดชอบ //