A Cup of Culture
Blog
สาระ และเรื่องราวดี ๆ สำหรับคนในทุกแวดวงที่สนใจด้าน People ในแง่มุมต่าง ๆ เช่น People Development, Corporate Culture, Employee Experience, Organization Structure, Corporate Innovation หรือ Employee Engagement
มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครื่องมือ trend และแนวทางในการพัฒนาองค์กร ให้ตอบโจทย์ธุรกิจและความอยู่ดีมีสุขของคนในองค์กรไปด้วยกันกับ A Cup of Culture
Culture Story
เรื่องจริงจากองค์กรชั้นนำ
Latest Articles
บทความล่าสุด
Tribal Leadership: กุญแจ 5 ขั้น สู่การพัฒนาผู้นำชนเผ่า
องค์กรก็เปรียบเสมือนเมืองเล็กหลาย ๆ เมืองรวมตัวกันเป็นเมืองใหญ่หนึ่งเมือง ในแต่ละเมืองเล็กแต่ละเมืองก็ประกอบไปด้วยคนหลายแบบ ตั้งแต่คนที่ขี้เกียจไปจนถึงคนระดับผู้นำชุมชน เราจะเรียกเมืองเล็ก ๆ เหล่านี้ว่าเผ่า โดยในหนึ่งเผ่าจะมีคนประมาณ 20-150
Quiet Quitting: ผลของการเอาเปรียบพนักงานจนเกินไป
พนักงานหลายล้านคนในสหรัฐอเมริกาพบว่าสิ่งที่พวกเขาได้ตอบแทนจากองค์กรนั้นไม่คุ้มกับสิ่งที่พวกเขาทำ ไม่ว่าจะเป็นรายได้ การเติบโต หรือการให้เกียรติ หรือพูดสั้น ๆ ว่าพวกเขารู้สึกว่ากำลังให้มากกว่ารับ และทำให้พวกเขาตัดสินใจถอยตัวเองออกมา และพยายามให้พอ ๆ
ออกแบบคำถามและตัวชี้วัด เพื่อวัดผลวัฒนธรรมองค์กร!
ปี 2023 เป็นปีทองของการสร้างวัฒนธรรมองค์กร หลายองค์กรที่ไม่เคยสนใจเรื่องนี้ ก็เริ่มกลับมาสนใจเรื่องนี้มากขึ้น การศึกษาพบว่าองค์กรที่ประสบความสำเร็จในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรล้วนเริ่มจาก “ผู้นำองค์กร” ต้องเอาด้วยหรือเป็นตัวตั้งตัวตีในการริเริ่มทำเรื่องนี้ ถึงแม้การศึกษาหลายชิ้นจะระบุว่า “วัฒนธรรมองค์กร”
อยากวัดผลวัฒนธรรมองค์กร ใช้เกณฑ์อะไรดี?
คำว่า “วัฒนธรรมองค์กร” ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นเรื่องทั่วไปๆ ที่อยู่รอบตัวเราเข้าถึงได้ง่าย… แต่ในความจริงแล้วกลับเป็นเรื่องที่เข้าถึงไม่ได้ง่ายสักเท่าไหร่… โดยเฉพาะในมิติของการวัดและประเมินผล ยิ่งในโลกปัจจุบันที่การสื่อสารบนแพลตฟอร์มออนไลน์เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการคุยงานผ่าน Line การอัพเดตข้อมูลผ่าน
รับมือกับคนทั้ง 4 Generations ในที่ทำงาน
เราทราบกันดีว่าคนแต่ละ Generation มีสไตล์และมุมมองต่อโลกที่แตกต่างกัน นั่นทำให้หลายครั้งในองค์กรคนต่างเจนมักจะมีปัญหาในการทำงานร่วมกัน โดยเฉพาะเมื่อในโลกการทำงานความแตกต่างนี้ถูกทำให้ใหญ่ชัดมากขึ้นด้วยโครงสร้างองค์กรส่วนใหญ่ที่มีความเป็นลำดับขั้น ที่สุดท้ายแล้วทำให้พนักงานรุ่นใหม่หมดใจที่จะทำงาน พนักงานอาวุโสเหนื่อยหน่าย บรรยากาศในการทำงานร่วมกันไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้ความพยายามของผู้บริหารในการดึงคนรุ่นใหม่เข้ามาเพื่อแสดงถึงศักยภาพองค์กร ถูกตอบรับด้วยเสียงบ่นของเหล่าผู้จัดการระดับกลาง
Toxic Productivity Culture เมื่อเราติดกับดักของคำว่า “โปรดักทีฟ”
ในช่วงปีที่ผ่านมาต้องยอมรับกันอย่างตรงไปตรงมาว่า เป็นปีของการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมในเรื่องรูปแบบการทำงานอย่างแท้จริง โดยเฉพาะในด้านความคาดหวังต่อประสิทธิภาพการทำงานของคนในองค์กร หรือที่เราพูดกันติดปากกันว่า “Productivity” คำนี้ก่อให้เกิดให้วัฒนธรรมองค์กรที่ชื่อว่า “Productivity Culture” ขึ้นอย่างเงียบๆ (อาจจะด้วยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม)
บทสรุปปี 2022 จาก Harvard Business Review
Harvard Business Review เป็นหนึ่งในแหล่งความรู้ด้านการพัฒนาองค์กร และธุรกิจที่มีอิทธิพลต่อวงการที่สุด และก็เป็นประเพณีที่ทุก ๆ ปีทาง HBR ก็จะถามความคิดเห็นของผู้อ่านถึงใจความสำคัญที่ผู้อ่านแต่ละคนได้จากการอ่านบทความของเว็บไซต์
Problem-Solving Flowchart: แผงผังช่วยคิดและแก้ไขปัญหา
พอพูดถึงคำว่า “ปัญหา” แน่นอนว่าเป็นสิ่งที่ใครก็ไม่อยากเจอ เพราะปัญหามักจะนำพาอุปสรรค ความยากลำบาก หรือความไม่สะดวกสบายในการใช้ชีวิตมาให้กับเรา แต่หากเรามองย้อนกลับไปในอดีต บุคคลที่ประสบความสำเร็จระดับโลกล้วนเคยผ่านปัญหาหรืออุปสรรคมาแล้วทั้งสิ้น ยกตัวอย่างเช่น ทอมัส
Collaboration Overload และวิธีรับมือเมื่อการร่วมงานกันมันมากเกินไป
ปัจจุบันพนักงานหนึ่งคนอาจต้องมีขั้นต่ำ 3 แอพพลิเคชั่นสำหรับติดต่องาน สำหรับส่งข้อความ อีเมล และประชุม นี่ยังไม่รวมกับที่ตอนนี้ทุก ๆ เครื่องมือทำงานถูกออกแบบมาให้มีฟังก์ชั่นการทำงานร่วมกันฝังลงไปด้วย อย่างเช่น
ให้ Feedback ด้วยตัวอักษร vs คำพูด
การให้ Feedback กับใครคนหนึ่งไปแล้วไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง… ดูเหมือนเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้บ่อย ซึ่งหนึ่งในหลายสาเหตุที่ทำให้หลายคนพลาดกันคือ ลืมนึกถึงช่องทางการให้ฟีดแบค ซึ่งมีความสำคัญอย่างมหาศาลต่อผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น ดังนั้น วันนี้เราจะมาดูกันว่าฟีดแบคแบบไหนควรพิมพ์ แบบไหนควรคุย
Reshape Your Workplace Culture ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมในที่ทำงานกันใหม่ ให้โดนใจคนทั้งองค์กร
เป็นเหมือนธรรมเนียมปฏิบัติที่เมื่อถึงช่วงเวลาส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ สิ่งที่เรามักทำกันคือ สรุปหรือทบทวนเรื่องราวต่างๆ ในช่วงปีที่ผ่านมา และตั้งเป้าหมายสิ่งที่อยากทำหรือสิ่งที่อยากจะเปลี่ยนแปลงในปีที่กำลังมาถึง ทีนี้ในแง่ขององค์กรหลายที่ก็ตั้งใจจะใช้ช่วงเวลานี้ในการเริ่มต้นพูดคุยหรือปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรกันใหม่ ทำไมคำว่า “วัฒนธรรมองค์กร” ถึงกลายมาเป็นพระเอกที่เราต้องพูดถึง เพราะวัฒนธรรมองค์กรคือ
ผู้นำแบบผู้รับใช้คืออะไร? และเป็นอย่างไร?
อำนาจอาจทำให้ผู้นำหลาย ๆ คนเสพติดผลลัพธ์และการควบคุม ซึ่งทำให้พวกเขาเหล่านั้นมองพนักงานของตัวเองเป็นแค่เส้นทางไปสู่ผลลัพธ์ และเมื่อเป็นเช่นนั้น พนักงานก็จะจมอยู่กับความกลัว ความกลัวที่จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ความกลัวที่จะไม่ได้โบนัส หรือความกลัวที่จะล้มเหลว ทำให้พวกเขาเริ่มมีทัศนคติเชิงลบและไม่มีแรงผลักดันในการเรียนรู้และทดลองสิ่งใหม่
เมื่อผู้นำชอบนำทีมตีกัน และหลักการออกแบบการเรียนรู้ให้ผู้จัดการทำงานด้วยกันได้
งานวิจัยของ Havard Business Review พบว่าสาเหตุหลักที่ทำให้การทำงานร่วมกันล้มเหลวมาจาก 1. การขาดความร่วมมือระหว่างผู้นำทีม (67%) 2. ผู้นำไม่มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
Logic Mapping เครื่องมือช่วยแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อน (A complex problem)
หากเราตั้งคำถามกับคน 100 คนว่า “คุณมีความรู้สึกอย่างไรกับคำว่า “ปัญหา”? เชื่อว่าเกินกว่าครึ่งหนึ่งน่าจะได้คำตอบไปในทางลบ และมีความรู้สึกว่าปัญหาเป็นสิ่งที่สร้างความรู้สึกเหนื่อยหน่าย ท้อแท้ ที่จะต้องคิดหาวิธีไปแก้ไขไปจัดการ แต่ในทางตรงกันข้ามคำว่า
Problem-Solving Culture (วัฒนธรรมแห่งการแก้ไขปัญหา) เป็น A Must ที่ทุกองค์กร ควรสร้างให้เกิดขึ้น
เมื่อใดก็ตามที่ “สิ่งที่เราคาดหวัง” กับ ”สิ่งที่เกิดขึ้นจริง” มันมีช่องว่างหรือมันไม่บรรจบกัน เมื่อนั้นมักจะนำพาคำว่า “ปัญหา” เข้ามาในชีวิตของเราเสมอ ซึ่งกระบวนการแก้ปัญหานั้นมีระบบระเบียบ (Systematic)
สร้างกลยุทธ์ที่เหนือชั้น ด้วยการมององค์กรตัวเอง จากมุมมองผู้อื่น
แผนกลยุทธ์ใด ๆ ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างข้อได้เปรียบระหว่างองค์กรเรากับคู่แข่ง แต่แผนกลยุทธ์ใด ๆ จะเวิร์คได้ต่อเมื่อเรารู้ว่าสถานะจริง ๆ ขององค์กรตอนนี้เป็นอย่างไร และตัวแปรไหนบ้างที่สำคัญกับแผนขององค์กรเรา สิ่งเหล่านั้นหลายคนเรียกมันรวม
3 ทริคพรีเซนต์งานให้ดึงดูดคนฟังได้ตั้งแต่เริ่มต้น
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าหนึ่งในภารกิจที่เหล่าคนทำงานล้วนต้องเคยเผชิญกัน คือ “การนำเสนองานในที่ประชุม” ซึ่งดูเหมือนเป็นเรื่องกล้วย ๆ สำหรับบางคน แต่ในทางตรงกันข้ามกลับเป็นเรื่องสุดหินสำหรับอีกหลายคน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องความไม่มั่นใจเมื่อต้องออกไปยืนต่อหน้าผู้คนจำนวนมาก ความไม่พร้อมหรือไม่แม่นในข้อมูล หรือความประหม่าจนกลายเป็นพูดลิ้นพันเร็วรัวจนไม่ได้ใจความ
หัวหน้าคนใหม่หรอ? เอาละ… ปรับตัวอย่างไรดี!
หากคุณเพิ่งเริ่มงานใหม่และสามารถเข้ากับหัวหน้าได้ดี ถือเป็นโชคดีของคุณ แต่จะทำอย่างไรล่ะหากสถานการณ์มันตรงกันข้าม จะทำอย่างไรล่ะหากคุณเริ่มทำงานไปได้ไม่กี่เดือนแล้วเพิ่งรู้ตัวว่าคุณกับหัวหน้าเข้ากันไม่ได้เลย คุณควรเริ่มจากการวิเคราะห์ปัญหา เหตุผลเหล่านี้อาจเป็นคำตอบว่าทำไมความสัมพันธ์ระหว่างคุณและหัวหน้าถึงตึงเครียด และคุณอาจลองใช้วิธีการเหล่านี้เพื่อลดความตึงเครียดดังกล่าว 1. ถามระดับความคาดหวังจากหัวหน้า หนึ่งลักษณะนิสัยที่อาจทำให้เกิดความยากลำบากในการทำงานคือความพิถีพิถัน