Ep14 ส่งต่อ values สู่มือลูกค้าแบบ Starbucks ตอนที่ 2
ครั้งที่แล้ว A cup of culture พาไปดูการขับเคลื่อนวัฒนธรรมองค์กรภายในของStarbucks ที่ส่งต่อไปยังลูกค้าตัวที่ 1 วันนี้เราจะมาดูกันต่ออีก 3 ตัวว่าเขาใช้อะไรอีกบ้างในการมัดใจลูกค้า Starbucks ทั่วโลก
ครั้งที่แล้ว A cup of culture พาไปดูการขับเคลื่อนวัฒนธรรมองค์กรภายในของStarbucks ที่ส่งต่อไปยังลูกค้าตัวที่ 1 วันนี้เราจะมาดูกันต่ออีก 3 ตัวว่าเขาใช้อะไรอีกบ้างในการมัดใจลูกค้า Starbucks ทั่วโลก
เรื่องราวที่ A cup of culture หยิบมาพูดคุยในช่วงที่ผ่านมา เรานำเครื่องมือและเทคนิคต่าง ๆ มานำเสนอให้คุณผู้อ่านได้เลือกหยิบไปใช้พัฒนาวัฒนธรรมองค์กรของตนเอง และล่าสุดเราให้แนวทางเกี่ยวกับการคัดสรรคน ซึ่งตัว Culture ถือเป็นเครื่องมือชั้นดีที่จะนำมาช่วยได้ สำหรับวันนี้เราอยากจะคุยเกี่ยวกับ “กาแฟ” แล้วมันเกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมองค์กรอย่างไร ติดตามอ่านกันได้เลย
องค์กรทุกองค์กรล้วนต้องการคนเก่ง คนมีความสามารถ แต่เมื่อได้คนเหล่านั้นเข้ามาร่วมงานกันแล้ว กลับพบว่าอยู่ได้ไม่นาน เพราะมีปัญหากับเพื่อนร่วมงานบ้าง ไลฟ์สไตล์ไม่เข้ากับองค์กรบ้าง คลิปนี้เราขอนำเสนอเทคนิค “การสัมภาษณ์คนแบบ Culture Fit” ที่จะช่วยให้คุณได้พนักงานอย่างที่ต้องการ อยู่กันได้นาน และสอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรได้อย่างลงตัว
เราได้พูดถึงงานวิจัยชิ้นหนึ่งของ MIT Sloan ที่ได้จัดทำโครงการวิจัยขนาดใหญ่เพื่อวัด “วัฒนธรรมองค์กร” โดยใช้ข้อมูลรีวิวจากพนักงาน 1.2 ล้านคน ซึ่งช่วยทำให้เราเห็นภาพรวมของ “วัฒนธรรมองค์กร” ที่บริษัทชั้นนำของโลกยึดถือกัน ในรายงานสรุปที่ชื่อว่า “The Big 9 Cultural Values” หรือ “9 กลุ่มวัฒนธรรมองค์กรที่สำคัญที่สุด” ซึ่งครั้งที่แล้ว A cup of culture พาไปรู้จักมาแล้ว 4 กลุ่ม คือ Agility Collaboration Customer และ Diversity วันนี้เราจะรู้จักอีก 5 ตัวที่เหลือกัน
MITSloan ได้จัดทำโครงการวิจัยขนาดใหญ่เพื่อวัด “วัฒนธรรมองค์กร” โดยใช้ข้อมูลรีวิวจากพนักงาน 1.2 ล้านคน ผ่านเว็ปไซต์ Glassdoor.com ซึ่งงานวิจัยนี้จะช่วยทำให้เราเห็นภาพรวมของ “วัฒนธรรมองค์กร” ในองค์กรชั้นนำของโลกว่าเขาใช้ Core Value ตัวไหนในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความสำเร็จ แล้วสรุปออกมาเป็น “The Big 9 Cultural Values” หรือคือ “9 กลุ่มวัฒนธรรมองค์กรที่สำคัญที่สุด” เราลองมาดูกันว่ามีอะไรบ้าง
เรื่องราวของการพูดคุยวันนี้ ต่อเนื่องมาจากครั้งที่แล้ว ที่เราพูดถึงการสร้างค่านิยม (Core value) ที่ดีไปแล้ว 3 ข้อ ก็คือ ข้อแรก: “Core Values ต้องสามารถตอบสนองความจำเป็น 3 ระดับขององค์กร คือ ความอยู่รอด การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง และความยั่งยืน” ข้อสอง: “Core Values ควรมีความใกล้เคียงกับตัวตนของผู้นำองค์กร” ข้อสาม: “ต้องสามารถส่ง Value Proposition ไปยังลูกค้าเป้าหมายได้” วันนี้เรามาต่อกันอีก 2 ข้อ
วันนี้ A cup of culture ขอเกริ่นเปิดเรื่องด้วยการถามคุณผู้อ่านก่อนว่า “วัฒนธรรมของคนไทยเรื่องอะไร ที่เรามักถูกพ่อแม่หรือผู้ใหญ่อบรมสั่งสอนมาตลอด?” คำตอบคือ “การให้ความสำคัญกับผู้อาวุโส” ซึ่งส่งผลให้เราเรียกบุคคลอื่นว่า “พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา” ได้ ถึงแม้คน ๆ นั้นจะไม่ใช่ญาติพี่น้องเรา หรืออีกเรื่องคือ “การให้ความสำคัญกับมุมมองความคิดของผู้อื่น” ซึ่งทำให้เราคอยกังวลเวลาที่จะพูดหรือแสดงความคิดเห็น กลัวสิ่งที่คนอื่นจะคิดกับเรา เป็นต้น ซึ่งเหล่านี้เวลาที่คนให้ “คุณค่า” มันก็นำพาไปสู่ “พฤติกรรม การปฏิบัติตาม” ในไม่ช้าไม่นานมันก็กลายมาเป็น “วัฒนธรรม” แล้ว “วัฒนธรรมองค์กรล่ะ” มักให้ความสำคัญกับเรื่องอะไร แล้วถ้าเราอยากสร้างวัฒนธรรมองค์กรอย่างที่เราต้องการจะทำได้ไหม?
เรื่องราวครั้งที่แล้วจบลงตรงที่โทนี่ เซ ตั้งใจจะสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นรูปธรรมให้มากขึ้น เขาจึงส่งอีเมลล์ไปยังพนักงานทุกคนในองค์กรและถามว่า “คุณลักษณะของพนักงานแบบไหนที่จะนำ Zappos ไปสู่องค์กรที่มีความสุขและส่งมอบประสบการณ์สุดว้าวให้กับลูกค้าได้?” วันนี้เราจะมาดูผลจากอีเมลล์ฉบับนั้นกันว่า Zappos ได้รวบรวมออกมาได้อะไรบ้าง อย่าลืมว่า “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ…”
ครั้งที่แล้วเราคุยกันถึง Tech company ในยุคแรก ๆ อย่างบริษัท IBM ที่วัฒนธรรมองค์กรของเขาถูกถ่ายทอดมาจาก DNA ของผู้ก่อตั้ง จากนั้นเราคุยกันแนวคิดใหม่ ๆ ในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งสรรหาคนที่ “โคตรเก่ง” หรือ Talent intensity มาร่วมงานด้วย วันนี้เราจะไปรู้จักกับต้นตำรับของประโยค “WOW experience” เหตุผลที่ A Cup of Culture อยากหยิบเรื่องนี้มาพูดคุยก็เพราะว่า การจะทำธุรกิจและเอาชนะคู่แข่งได้ในยุคนี้ ไม่ใช้การทำเพียงแค่ให้ได้ “มาตรฐาน” แต่ต้องทำให้ “เหนือมาตรฐานกว่าสิ่งที่ลูกค้าคาดหวัง” ซึ่งประโยคนี้ กลุ่มคนแรก ๆ ที่พูดถึงก็คือ บริษัท Zappos
คราวที่แล้ว A Cup of Culture พาทุกคนไปค้นหาว่า ทำไม Netflix ถึงมีแต่คนเก่ง ๆ และ “Talent density” แนวคิดที่เน้นเก็บแต่คนที่ทำงานเก่งไว้เท่านั้น ในวันนี้เราจะมาคุยกันต่อว่า Netflix ใช้วิธีไหนในการสื่อสารไปยังคนเก่งที่เขาต้องการและดึงดูดคนเหล่าในให้มาร่วมงานกับ Netflix ได้ “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
Ep 4 องค์กรเก่งขั้นเทพแบบ Netflix ตอนที่ 1 92% ของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตรับชม Video Streaming ซึ่งส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 คือ “Netflix” (ซึ่งมากกว่า YouTube กว่าเท่าตัว) และปัจจุบันฐานสมาชิกทั่วโลกของ Netflix เพิ่มขึ้นมากกว่า 160 ล้านบัญชีแล้ว อะไรคือจุดสำคัญที่ทำให้ Netflix ประสบความสำเร็จ? “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
Basic Beliefs ที่เกิดขึ้นจากตัวผู้นำองค์กร ส่งผลให้บริษัท IBM กลายเป็นยักษ์ใหญ่ในธุรกิจไอทีได้อย่างยาวนานกว่าครึ่งศตวรรษ แต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนผ่าน ความรุ่งเรืองที่เคยมีลดน้อยลง การเข้ามาของคู่แข่งรายใหม่ ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น กับวัฒนธรรมองค์กรที่เริ่มหมดอายุ?
A Cup of Culture ขอพาย้อนกลับไปสู่ช่วงก่อนที่ทุกคนจะรู้จัก บริษัท Apple Inc. บริษัท Google Inc. หรือ Tech Company ชั้นนำต่าง ๆ ที่มีวัฒนธรรมองค์กรเจ๋ง ๆ สวัสดิการดี ๆ หรือบรรยากาศการทำงานสุดคูลอย่างในปัจจุบัน มี Tech Company ที่หนึ่ง ที่ถือว่าอยู่แนวหน้าของโลกมาอย่างยาวนาน และเป็นคนเริ่มต้นเรื่องราวเหล่านี้ก่อนใครเลย นั้นคือ บริษัท IBM หรือชื่อเล่นว่า Big Blue (ยักษ์สีฟ้า) ทำไมบริษัท IBM ถึงได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในบริษัทที่เป็นต้นกำเนิดของคำว่า Corporate Culture? “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
“Culture eats strategy for breakfast” วลีสุดคลาสสิคของท่าน Peter Drucker ผู้ซึ่งเป็นทั้งนักเขียนและที่ปรึกษาด้านการจัดการคนสำคัญในแวดวงธุรกิจ วลีนี้หากแปลตรงตัวก็คือ “วัฒนธรรม กินกลยุทธ์ เป็นอาหารเช้า” หากเราตีความหมายของวลีนี้ดี ๆ ท่านกำลังสื่อว่า “ไม่ว่ากลยุทธ์จะคิดออกมาดีเพียงใด หากคุณไม่มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดีที่จะสนับสนุน กลยุทธ์นั้นก็จะไม่เกิดผล “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
A Cup of Culture แก้วนี้เอ่อล้นด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรมองค์กร เพราะเป้าหมายของเราคือ การบอกเล่าเรื่องราวและเทคนิคดี ๆ อีกทั้งเป็นพื้นที่แบ่งปันเครื่องมือ ให้คุณเลือกหยิบไปใช้ได้ทันทีด้วยตนเอง” “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ” A Cup of Culture spotify:episode:21zgYz42HuhTts0WWODgwr
ครั้งที่แล้ว A cup of culture พาไปดูการขับเคลื่อนวัฒนธรรมองค์กรภายในของStarbucks ที่ส่งต่อไปยังลูกค้าตัวที่ 1 วันนี้เราจะมาดูกันต่ออีก 3 ตัวว่าเขาใช้อะไรอีกบ้างในการมัดใจลูกค้า Starbucks ทั่วโลก
เรื่องราวที่ A cup of culture หยิบมาพูดคุยในช่วงที่ผ่านมา เรานำเครื่องมือและเทคนิคต่าง ๆ มานำเสนอให้คุณผู้อ่านได้เลือกหยิบไปใช้พัฒนาวัฒนธรรมองค์กรของตนเอง และล่าสุดเราให้แนวทางเกี่ยวกับการคัดสรรคน ซึ่งตัว Culture ถือเป็นเครื่องมือชั้นดีที่จะนำมาช่วยได้ สำหรับวันนี้เราอยากจะคุยเกี่ยวกับ “กาแฟ” แล้วมันเกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมองค์กรอย่างไร ติดตามอ่านกันได้เลย
องค์กรทุกองค์กรล้วนต้องการคนเก่ง คนมีความสามารถ แต่เมื่อได้คนเหล่านั้นเข้ามาร่วมงานกันแล้ว กลับพบว่าอยู่ได้ไม่นาน เพราะมีปัญหากับเพื่อนร่วมงานบ้าง ไลฟ์สไตล์ไม่เข้ากับองค์กรบ้าง คลิปนี้เราขอนำเสนอเทคนิค “การสัมภาษณ์คนแบบ Culture Fit” ที่จะช่วยให้คุณได้พนักงานอย่างที่ต้องการ อยู่กันได้นาน และสอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรได้อย่างลงตัว
เราได้พูดถึงงานวิจัยชิ้นหนึ่งของ MIT Sloan ที่ได้จัดทำโครงการวิจัยขนาดใหญ่เพื่อวัด “วัฒนธรรมองค์กร” โดยใช้ข้อมูลรีวิวจากพนักงาน 1.2 ล้านคน ซึ่งช่วยทำให้เราเห็นภาพรวมของ “วัฒนธรรมองค์กร” ที่บริษัทชั้นนำของโลกยึดถือกัน ในรายงานสรุปที่ชื่อว่า “The Big 9 Cultural Values” หรือ “9 กลุ่มวัฒนธรรมองค์กรที่สำคัญที่สุด” ซึ่งครั้งที่แล้ว A cup of culture พาไปรู้จักมาแล้ว 4 กลุ่ม คือ Agility Collaboration Customer และ Diversity วันนี้เราจะรู้จักอีก 5 ตัวที่เหลือกัน
MITSloan ได้จัดทำโครงการวิจัยขนาดใหญ่เพื่อวัด “วัฒนธรรมองค์กร” โดยใช้ข้อมูลรีวิวจากพนักงาน 1.2 ล้านคน ผ่านเว็ปไซต์ Glassdoor.com ซึ่งงานวิจัยนี้จะช่วยทำให้เราเห็นภาพรวมของ “วัฒนธรรมองค์กร” ในองค์กรชั้นนำของโลกว่าเขาใช้ Core Value ตัวไหนในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความสำเร็จ แล้วสรุปออกมาเป็น “The Big 9 Cultural Values” หรือคือ “9 กลุ่มวัฒนธรรมองค์กรที่สำคัญที่สุด” เราลองมาดูกันว่ามีอะไรบ้าง
เรื่องราวของการพูดคุยวันนี้ ต่อเนื่องมาจากครั้งที่แล้ว ที่เราพูดถึงการสร้างค่านิยม (Core value) ที่ดีไปแล้ว 3 ข้อ ก็คือ ข้อแรก: “Core Values ต้องสามารถตอบสนองความจำเป็น 3 ระดับขององค์กร คือ ความอยู่รอด การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง และความยั่งยืน” ข้อสอง: “Core Values ควรมีความใกล้เคียงกับตัวตนของผู้นำองค์กร” ข้อสาม: “ต้องสามารถส่ง Value Proposition ไปยังลูกค้าเป้าหมายได้” วันนี้เรามาต่อกันอีก 2 ข้อ
วันนี้ A cup of culture ขอเกริ่นเปิดเรื่องด้วยการถามคุณผู้อ่านก่อนว่า “วัฒนธรรมของคนไทยเรื่องอะไร ที่เรามักถูกพ่อแม่หรือผู้ใหญ่อบรมสั่งสอนมาตลอด?” คำตอบคือ “การให้ความสำคัญกับผู้อาวุโส” ซึ่งส่งผลให้เราเรียกบุคคลอื่นว่า “พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา” ได้ ถึงแม้คน ๆ นั้นจะไม่ใช่ญาติพี่น้องเรา หรืออีกเรื่องคือ “การให้ความสำคัญกับมุมมองความคิดของผู้อื่น” ซึ่งทำให้เราคอยกังวลเวลาที่จะพูดหรือแสดงความคิดเห็น กลัวสิ่งที่คนอื่นจะคิดกับเรา เป็นต้น ซึ่งเหล่านี้เวลาที่คนให้ “คุณค่า” มันก็นำพาไปสู่ “พฤติกรรม การปฏิบัติตาม” ในไม่ช้าไม่นานมันก็กลายมาเป็น “วัฒนธรรม” แล้ว “วัฒนธรรมองค์กรล่ะ” มักให้ความสำคัญกับเรื่องอะไร แล้วถ้าเราอยากสร้างวัฒนธรรมองค์กรอย่างที่เราต้องการจะทำได้ไหม?
เรื่องราวครั้งที่แล้วจบลงตรงที่โทนี่ เซ ตั้งใจจะสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นรูปธรรมให้มากขึ้น เขาจึงส่งอีเมลล์ไปยังพนักงานทุกคนในองค์กรและถามว่า “คุณลักษณะของพนักงานแบบไหนที่จะนำ Zappos ไปสู่องค์กรที่มีความสุขและส่งมอบประสบการณ์สุดว้าวให้กับลูกค้าได้?” วันนี้เราจะมาดูผลจากอีเมลล์ฉบับนั้นกันว่า Zappos ได้รวบรวมออกมาได้อะไรบ้าง อย่าลืมว่า “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ…”
ครั้งที่แล้วเราคุยกันถึง Tech company ในยุคแรก ๆ อย่างบริษัท IBM ที่วัฒนธรรมองค์กรของเขาถูกถ่ายทอดมาจาก DNA ของผู้ก่อตั้ง จากนั้นเราคุยกันแนวคิดใหม่ ๆ ในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งสรรหาคนที่ “โคตรเก่ง” หรือ Talent intensity มาร่วมงานด้วย วันนี้เราจะไปรู้จักกับต้นตำรับของประโยค “WOW experience” เหตุผลที่ A Cup of Culture อยากหยิบเรื่องนี้มาพูดคุยก็เพราะว่า การจะทำธุรกิจและเอาชนะคู่แข่งได้ในยุคนี้ ไม่ใช้การทำเพียงแค่ให้ได้ “มาตรฐาน” แต่ต้องทำให้ “เหนือมาตรฐานกว่าสิ่งที่ลูกค้าคาดหวัง” ซึ่งประโยคนี้ กลุ่มคนแรก ๆ ที่พูดถึงก็คือ บริษัท Zappos
คราวที่แล้ว A Cup of Culture พาทุกคนไปค้นหาว่า ทำไม Netflix ถึงมีแต่คนเก่ง ๆ และ “Talent density” แนวคิดที่เน้นเก็บแต่คนที่ทำงานเก่งไว้เท่านั้น ในวันนี้เราจะมาคุยกันต่อว่า Netflix ใช้วิธีไหนในการสื่อสารไปยังคนเก่งที่เขาต้องการและดึงดูดคนเหล่าในให้มาร่วมงานกับ Netflix ได้ “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
Ep 4 องค์กรเก่งขั้นเทพแบบ Netflix ตอนที่ 1 92% ของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตรับชม Video Streaming ซึ่งส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 คือ “Netflix” (ซึ่งมากกว่า YouTube กว่าเท่าตัว) และปัจจุบันฐานสมาชิกทั่วโลกของ Netflix เพิ่มขึ้นมากกว่า 160 ล้านบัญชีแล้ว อะไรคือจุดสำคัญที่ทำให้ Netflix ประสบความสำเร็จ? “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
Basic Beliefs ที่เกิดขึ้นจากตัวผู้นำองค์กร ส่งผลให้บริษัท IBM กลายเป็นยักษ์ใหญ่ในธุรกิจไอทีได้อย่างยาวนานกว่าครึ่งศตวรรษ แต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนผ่าน ความรุ่งเรืองที่เคยมีลดน้อยลง การเข้ามาของคู่แข่งรายใหม่ ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น กับวัฒนธรรมองค์กรที่เริ่มหมดอายุ?
A Cup of Culture ขอพาย้อนกลับไปสู่ช่วงก่อนที่ทุกคนจะรู้จัก บริษัท Apple Inc. บริษัท Google Inc. หรือ Tech Company ชั้นนำต่าง ๆ ที่มีวัฒนธรรมองค์กรเจ๋ง ๆ สวัสดิการดี ๆ หรือบรรยากาศการทำงานสุดคูลอย่างในปัจจุบัน มี Tech Company ที่หนึ่ง ที่ถือว่าอยู่แนวหน้าของโลกมาอย่างยาวนาน และเป็นคนเริ่มต้นเรื่องราวเหล่านี้ก่อนใครเลย นั้นคือ บริษัท IBM หรือชื่อเล่นว่า Big Blue (ยักษ์สีฟ้า) ทำไมบริษัท IBM ถึงได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในบริษัทที่เป็นต้นกำเนิดของคำว่า Corporate Culture? “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
“Culture eats strategy for breakfast” วลีสุดคลาสสิคของท่าน Peter Drucker ผู้ซึ่งเป็นทั้งนักเขียนและที่ปรึกษาด้านการจัดการคนสำคัญในแวดวงธุรกิจ วลีนี้หากแปลตรงตัวก็คือ “วัฒนธรรม กินกลยุทธ์ เป็นอาหารเช้า” หากเราตีความหมายของวลีนี้ดี ๆ ท่านกำลังสื่อว่า “ไม่ว่ากลยุทธ์จะคิดออกมาดีเพียงใด หากคุณไม่มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดีที่จะสนับสนุน กลยุทธ์นั้นก็จะไม่เกิดผล “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ”
A Cup of Culture แก้วนี้เอ่อล้นด้วยเรื่องราวของวัฒนธรรมองค์กร เพราะเป้าหมายของเราคือ การบอกเล่าเรื่องราวและเทคนิคดี ๆ อีกทั้งเป็นพื้นที่แบ่งปันเครื่องมือ ให้คุณเลือกหยิบไปใช้ได้ทันทีด้วยตนเอง” “ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม วัฒนธรรมองค์กรจะเกิดขึ้นอยู่ดี ทำไมเราไม่มาสร้างวัฒนธรรมองค์กรในแบบที่เราอย่างเห็นกันละ” A Cup of Culture spotify:episode:21zgYz42HuhTts0WWODgwr